วันศุกร์ที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2564

รูปแบบการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

 ABSTRACT

การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษา รูปแบบการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมของผู้บริหาร สถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน 2) สร้างรูปแบบการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะ กรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ 3) ประเมินรูปแบบ การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ผลการวิจัยพบว่า

1. ระดับการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมของ ผู้บริหารสถานศึกษาโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อ พิจารณาเป็นรายด้านเกี่ยวกับระดับของการพัฒนา คุณธรรมจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาเรียงตาม ลำดับดังนี้ การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมด้านจรรยา บรรณทางวิชาชีพ การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม ด้านมาตรฐานวิชาชีพ และการพัฒนาด้านคุณธรรม จริยธรรม

2. ผลการศึกษาการสร้างรูปแบบการพัฒนา คุณธรรมจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษามีองค์ ประกอบหลัก 4 องค์ประกอบ และองค์ประกอบย่อย 10 องค์ประกอบ

3. ระดับความเหมาะสมของรูปแบบการ พัฒนาคุณธรรมจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยภาพรวมพบว่า ระดับความเหมาะสมของโดยภาพ รวมความเหมาะสมของรูปแบบการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ระดับความเหมาะสม ของรูปแบบการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมของผู้บริหาร สถานศึกษาอยู่ในระดับมากทั้ง 3 ด้านเรียงตามลำดับ ดังนี้ ด้านการปรับประยุกต์ใช้รูปแบบ ด้านองค์ประกอบ ของรูปแบบ ด้านความเหมาะสมของร่างรูปแบบการ พัฒนาคุณธรรมจริยธรรม


ฐิตาภา เบ็ญจาธิกุล (2557). รูปแบบการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร. ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 พฤศจิกายน - เมษายน 2557 หน้า 81 - 94.

กลยุทธ์การพัฒนาทักษะผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 ของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในจังหวัดเลย

 

บทคัดย่อ (Abstract)

การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาภาวะผู้นํา เพื่อจัดองค์ประกอบของภาวะผู้นํา และ เพื่อศึกษาอิทธิพลของภาวะผู้นําของผู้อํานวยการสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่ส่งผลต่อประสิทธิผล ของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ดําเนินการวิจัยแบ่งเป็น 2 ระยะ ระยะที่ 1 การศึกษาภาวะผู้นําของผู้อํานวยการสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่ส่งผลต่อ ประสิทธิผลของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา โดยใช้เทคนิคเดลฟาย 3 รอบ ผู้ให้ข้อมูล เป็นผู้เชี่ยวชาญ จํานวน 19 คน เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย แบบสอบถามปลายเปิด และแบบสอบถาม แบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลทางไปรษณีย์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วย การวิเคราะห์เนื้อหา การหาค่ามัธยฐาน ค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ และค่าธานนิยม ผลการวิจัย พบว่า ภาวะผู้นําของผู้อํานวยการสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มีจํานวน 55 ตัวชี้วัด ระยะที่ 2 การจัดองค์ประกอบภาวะผู้นําของผู้อํานวยการสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาและ การศึกษาอิทธิพลของภาวะผู้นําของผู้อํานวยการสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่ส่งผลต่อประสิทธิผล ของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้บริหารในสํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษา จํานวน 550 คน เลือกโดยวิธีการสุ่มแบบชั้นภูมิตามสัดส่วน เครื่องมือที่ใช้ เป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความเชื่อมั่นในส่วนภาวะผู้นําของ ผู้อํานวยการเขตพื้นที่ เท่ากับ 0.911 และในส่วนของประสิทธิผลของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา 0.951 ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลทางไปรษณีย์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการหา ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสํารวจ และ ผลการวิจัย พบว่า ภาวะผู้นําของผู้อํานวยการสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มี 7 ด้าน คือ ด้านการเป็นผู้นํา การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา มี 22 ตัวชี้วัด ด้านความรู้ความเข้าใจต่อสถานการณ์ที่เกี่ยวข้อง มี 6 ตัวชี้วัด ด้านความรู้ความเข้าใจทางการเมืองเศรษฐกิจและสังคม มี 5 ตัวชี้วัด ด้านการพัฒนาตนเอง


ก้องนเรนท์ พลชา (2561). กลยุทธ์การพัฒนาทักษะผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 ของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในจังหวัดเลย. เลย : สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในจังหวัดเลย.

ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนกับประสิทธิผล ของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 19

 Title

: ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนกับประสิทธิผล ของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 19
THE RELATIONSHIP BETWEEN PRINCIPAL INSTRUCTIONAL LEADERSHIP AND EFFECTIVENESS OF SCHOOLS UNDER THE OFFICE OF SECONDARY EDUCATIONAL SERVICE AREA 19

Classification :.DDC: 371.2
Abstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 19 2) เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 19 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนกับประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 19 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ครูในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 19 ประจำปี 2554 จำนวน 334 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน
มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย. ศูนย์วิทยบริการ
Address: เลย
Email: library@lru.ac.th
Role: ที่ปรึกษาวิทยานิพน์
Role: ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
Modified: 2557-08-29
Issued: 2557-02-27
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/pdf
CallNumber: 371.2
tha
©copyrights มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
RightsAccess:

ณัฐชนก ชัยศรี(2557). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนกับประสิทธิผล ของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 19. 

วันเสาร์ที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2564

Blogger นักศึกษาปริญญาโท บริหารการศึกษา ม.ธนบุรี รุ่นที่ 7

Blogger  นักศึกษาปริญญาโท บริหารการศึกษา ม.ธนบุรี รุ่นที่ 7

 https://suchanyapam.blogspot.com

https://manidatukta2524.blogspot.com

https://sanjitaklayprayong.blogspot.com

https://kruweerayut01.blogspot.com

https://pongthepniyomthai.blogspot.com

https://noorfadilah2534.blogspot.com

https://kanoktip2536.blogspot.com

https://supannee-suna.blogspot.com

https://chaitobuddee.blogspot.com

https://teerapongsuksomsong.blogspot.com

https://witsarut-benz238.blogspot.com

https://phakornkiat.blogspot.com

https://nitid-hengchoochip.blogspot.com

https://chonthichadeebucha.blogspot.com

https://nopparataunprasert.blogspot.com

https://chaichaofa.blogspot.com

https://voraponbabyboss.blogspot.com

https://chenchira2021.blogspot.com

https://nattidadechakkanat.blogspot.com

https://khunmuangchukorn.blogspot.com

https://anupong12tu.blogspot.com

https://sutthananabangchang.blogspot.com

https://sattawatsurisan.blogspot.com

https://thanchanokluarnkrew.blogspot.com

https://supaporn1204.blogspot.com

https://vigaivaraporn.blogspot.com

https://nisachonyimprasert.blogspot.com

โปรแกรม NT Access

 โปรแกรม NT Access โรงเรียนบ้านคลองแค

        โปรแกรม NT Access  เป็นโปรแกรมที่สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พัฒนาขึ้นมา เพื่อใช้ในการบริหารจัดการสอบให้แก่บุคคลและทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตั้งแต่ผู้เรียน โรงเรียน เขตพื้นที่การศึกษา ศูนย์สอบ และหน่วยงานต้นสังกัด โดยในแต่ละหน่วยงานสามารถเข้ามาบริหาร จัดการในระบบ NT Access


        ขั้นตอนการเข้าใช้งาน

        1) เข้าระบบ NT Access ตาม URL: http//nt.obec.go.th เลือก Server เครื่องใดก็ได้

        
        2) คลิก NT ป.3

        
        3) กรอก (1) “รหัสผู้ใช้” (User ID) และ (2) “รหัสผ่าน” (Password) ของผู้ใช้แล้วคลิก (3) “เข้าใช้งานระบบ” ตามลำดับ (กรณีโรงเรียนไม่ทราบรหัสผู้ใช้และรหัสผ่าน ให้ประสานศูนย์สอบ)


        4) คลิก "ข้อมูลนักเรียน" และเลือก "นำส่งข้อมูลนักเรียน"


            5) กรอกข้อมูลนักเรียนรายบุคคล เลือก "นำส่ง"


        6) เมื่อนำส่งข้อมูลนักเรียนชั้น ป.3 ครบทุกคนแล้ว พอถึงวันที่กำหนด ให้เข้าไป print บัตรประจำตัวผู้เข้าสอบ โดยคลิกที่ "ข้อมูลนักเรียน" 


และเลือก "พิมพ์บัตรประจำตัวผู้เข้าสอบ"

        7) เมื่อถึงวันที่กำหนด ให้เข้าไปเช็คสนามสอบ โดยคลิกที่ "ข้อมูลโรงเรียน" 


เลือก "ข้อมูลห้องที่ใช้สอบ" 


        8) เมื่อจบการใช้งาน ให้คลิก "ออกจากระบบ" มุมบนขวาของหน้าจอ




















ประวัติ ชลธิชา ดีบูชา

ชื่อ         : นางสาวชลธิชา  ดีบูชา

วันเกิด    : 30 สิงหาคม 2534

อายุ        : 29 ปี

ที่อยู่        : โรงเรียนบ้านคลองแค ม.2 ต.อ้อมน้อย อ.กระทุ่มแบน จ.สมุทรสาคร 74110

เบอร์โทร : 0971314085

E-mail    : lookkii_padpad@hotmail.com

วุฒิการศึกษา : ปริญญาตรี ศศ.บ.ภาษาไทย ม.บูรพา, ประกาศนียบัตรวิชาชีพครู มรภ.สวนสุนันทา